เครดตฟรไมตองฝากไมตองแชร-2021-กดรบเอง

อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เผยผลวิจัยฉีดวัคซีนเข็ม 3 เข้าชั้นผิวหนัง พบผลข้างเคียงปวด บวม แดงบริเวณที่ฉีดมากกว่าการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ แต่เกิดอาการทั่วไปของร่างกายน้อยกว่า ส่วนการเกิดภูมิคุ้มกันพบว่าเพิ่มขึ้นใกล้เคียงกัน วันนี้ (22 ก. ย. 2564) นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กล่าวถึงผลการวิจัยภูมิคุ้มกันและความปลอดภัยจากการได้รับวัคซีนเข็มกระตุ้นเข้าชั้นผิวหนัง ซึ่งเป็นการวิจัยที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช. ) นพ. ศุภกิจ กล่าวว่า โดยทั่วไปการฉีดวัคซีนมี 3 แบบ คือ 1. ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เช่น วัคซีนรวมคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน วัคซีนตับอักเสบบี วัคซีนพิษสุนัขบ้า 2. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เช่น วัคซีนรวมหัด คามทูมและหัดเยอรมัน วัคซีนไข้สมองอักเสบ และ 3. ฉีดเข้าในชั้นผิวหนัง เช่น วัคซีน BCG ป้องกันความรุนแรงแรงวัณโรค วัคซีนพิษสุนัขบ้า ขอทำความเข้าใจก่อนว่า งานวิจัยดังกล่าว คือการฉีดวัคซีนเข้าในชั้นผิวหนัง ไม่ใช่ใต้ผิวหนัง "สิ่งที่ตั้งคำถามคือ มีหลายประเทศเริ่มคิดเรื่องนี้ เพราะการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจะใช้จำนวนวัคซีนน้อยกว่า และอาจน้อยกว่าถึง 1 ใน 5 ถ้าได้ผลเท่ากัน นั่นหมายความว่าวัคซีนที่เคยฉีดได้ 1 คน จะฉีดได้ 5 คน" นพ.

ฉีดสเตียรอยด์ ลดอาการ ‘ปวดหลัง’ อีกหนึ่งทางรักษา เลี่ยงผ่าตัด | ⊹⊱✿ What Ankylosing Spondylitis can't do ✿⊰⊹

เกรียงศักดิ์ เล็กเครือสุวรรณ แพทย์ผู้ชำนาญการด้านออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล (WMC) ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม: ศูนย์ศัลยกรรมออร์โธปิดิกส์เฉพาะทาง ชั้น 2 โรงพยาบาลเวิลด์เมดิคอล (WMC) โทร 02-836-9999 ต่อ 2621-2

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เผย ฉีดวัคซีนโควิด-19 เข้าในชั้นผิวหนัง เป็นบูสเตอร์โดส ได้ผลดี ส่วนผลข้างเคียงพบ 5% น้อยกว่ากลุ่มฉีดเข้ากล้ามเนื้อพบได้ 30% เบื้องต้นหากศึกษาในกลุ่มคนจำนวนมากขึ้น และไม่พบอาการข้างเคียงรุนแรงเฉพาะที่อาจเป็นอีกทางเลือกที่ดี พร้อมเผยผลทดสอบภูมิฯฉีดเข้าในชั้นผิวหนัง เมื่อวันที่ 22 ก. ย. 2564 ที่กระทรวงสาธารณสุข(สธ. ) นพ. ศุภกิจ ศิริลักษณ์ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ แถลงข่าววิธีการฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ว่า ตามที่มีกระแสข่าวว่าจะมีการฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนัง ซึ่งเป็นงานวิจัยระหว่างกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมมือกันภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช. ) ที่ได้ MOU ร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข จะขออนุญาตฝากถึงสื่อมวลชน ซึ่งมีผู้ที่เล่าข่าวเข้าใจเรื่องนี้คาดเคลื่อน สิ่งที่เรานำเสนอคือ การฉีดวัคซีนทั่วไปมี 3 แบบคือ 1. การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ(Intramuscular) ปักเข็ม 90 องศา ตามที่เราฉีดวัคซีนโควิด-19 ฉีดทะลุชั้นผิวหนัง ชั้นใต้ผิวหนังเข้าไปถึงกล้ามเนื้อ รวมถึงวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน ตับอักเสบบี วัคซีนพิษสุนัขบ้า 2. ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง(Subcutaneous) ปักเข็ม 45 องศา เป็นการแทงทะลุผิวหนังเข้าไปในชั้นไขมันใต้ผิวหนัง เช่น วัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน ไข้สมองอักเสบ " แต่สิ่งที่เรานำเสนอ คือ 3.

  • [Healthstory - เรื่องสุขภาพ ง่ายนิดเดียว] ทำไมยาบางตัวต้องฉีดเข้า"กล้ามเนื้อ"
  • Diclofenac inj.ฉีดเข้า เส้น ต่างจากฉีดเข้ากล้ามอย่างไร มีอาการอย่างไรบ้างกรณืฉีดเข้าเส้นเลือดดำ
  • ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการฉีดยา Diclofenac เข้ากล้ามเนื้อบริเวณก้น
  • ศัลยแพทย์ไขปริศนา เทคนิคฉีดยา มีผลต่ออาการข้างเคียง 'ปวด-ชาครึ่งซีก'

ศัลยแพทย์ไขปริศนา เทคนิคฉีดยา มีผลต่ออาการข้างเคียง 'ปวด-ชาครึ่งซีก'

หมอเลยไปลองถามใน Group Line ศัลยแพทย์ที่มีหมอมากกว่า 300 คน ดูว่ามีใครฉีดแล้วมีอาการ ชาบ้าง? ปรากฏว่ามี 1 ท่านเป็นผู้หญิง ซึ่งได้ทำการตรวจ MRI และ อื่นๆ แต่ไม่พบความผิดปกติ และจากข้อมูลอื่นๆ ในข่าว จะพบว่า ผู้ที่มีปัญหามักเป็นผู้หญิง!! ซึ่งตรงนี้จะเป็นประเด็นหนึ่งในการวิเคราะห์ ขอใบ้ก่อนเลยว่า (ไม่เกี่ยวเลยว่า ผู้หญิงเป็นเพศอ่อนแอ หรือ คิดมากกังวลไปเอง) เดี๋ยวจะมาเล่าให้ฟัง มันเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนนี้แหละ คราวนี้มาถึงคราวที่ตัวเองฉีดบ้าง ตอนฉีดไม่เจ็บเลย เจ็บตอนเข็มทิ่มและ ปวดกล้ามเนื้อนิดๆ แทบจะปกติเลยก็ได้ ซึ่งก็ชมคุณพยาบาลที่ฉีดว่า เทพมากมือเบามาก คุณพยาบาลก็ตอบกลับมาว่า "พอดีเป็นคนกลัวเข็ม เลยหาวิธีการฉีดที่เจ็บน้อยสุด!! " คนทั่วไปอาจมองข้ามประโยคนี้ แต่สำหรับศัลยแพทย์ ประโยคนี้สะกิตใจบางอย่าง ตอนเย็น กลับมาดูคลิปเปรียบเทียบการฉีดยาของตัวเอง และ คนใกล้ชิด (พอดีถ่ายคลิปตอนฉีดไว้) ดูซ้ำๆ ไปมา จึงเห็นข้อแตกต่างคือ พยาบาลคนหนึ่งเด็ก อีกคนหนึ่งมีอายุ ล้อเล่นไม่เกี่ยวครับ ที่เห็นคือ เทคนิคการฉีดยาที่แตกต่างกัน!!!!!! มีอะไรบ้าง 1. ตำแหน่งที่ฉีด ของหมอตำแหน่งที่ฉีดค่อนข้างสูงกว่า คือ ระดับประมาณ 2-3 finger based ใต้ต่อปุ่มกระดูกหัวไหล่ 2.