เครดตฟรไมตองฝากไมตองแชร-2021-กดรบเอง

2) ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 ([กรุงเทพฯ]: สำนักนายกรัฐมนตรี, 2521), 33-58. 3) จารึกสมัยสุโขทัย (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2526), 58-79. 4) วารสารศิลปากร ปีที่ 26 ฉบับที่ 6 (มกราคม 2526): 108-119. 5) วารสาร ศิลปากร ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (มีนาคม 2526): 93-114. 6) วารสาร ศิลปากร ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม 2526): 60-86. 7) ศิลาจารึกสุโขทัย หลักที่ 2 (จารึกวัดศรีชุม): ฉบับผลการสัมมนา พุทธศักราช 2523 (กรุงเทพฯ: กองหอสมุดแห่งชาติ กรมศิลปากร, 2527), 1-49. ประวัติ พลโท พระยาสโมสรสรรพการ เมื่อครั้งเป็นหลวงสโมสรพลการเป็นผู้พบศิลาจารึกนี้ในอุโมงค์วัดศรีชุม เมื่อขึ้นไปตรวจค้นศิลาจารึกเมืองสุโขทัย พ. ศ. 2430 แล้วได้ส่งมาไว้ในพิพิธภัณฑสถาน กรุงเทพฯ พ. 2451 พิพิธภัณฑสถานจึงได้ส่งมาให้หอพระสมุดสำหรับพระนคร เนื้อหาโดยสังเขป จารึกหลักนี้ เป็นคำกล่าวถึงความดี และกิจกรรมของผู้แต่งศิลาจารึกนี้ คือ สมเด็จพระมหาเถรศรีศรัทธาราชจุฬามณีศรีรัตนลังกาทีปมหาสามีเจ้า ซึ่งเป็นบุตรของพระยากำแหงพระราม (สองแคว) 01.

  1. ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | จารึกวัดมหาธาตุ สุโขทัย
  2. จังหวัดสุโขทัย: ศิลาจารึก
  3. ศิลาจารึก สุโขทัย
  4. เศรษฐกิจของสุโขทัย - aphinun
  5. ศิลาจารึก - วิกิพีเดีย

ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | จารึกวัดมหาธาตุ สุโขทัย

อักษรไทยสมัยสุโขทัย ภาษาเขียนของคนไทยเกิดขึ้นหลังจากที่คนไทยสร้างเมืองของตนเองขึ้นแล้ว คือ สุโขทัย เมื่อปี พ. ศ.

จังหวัดสุโขทัย: ศิลาจารึก

ด้านประวัติศาสตร์ ให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหง จารึกไว้ทำนองเฉลิมพระเกียรติ ตลอดจนความรู้ด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี และสภาพสังคมของกรุงสุโขทัย ทำให้ผู้อ่านรู้ถึงความเจริญรุ่งเรืองของกรุงสุโขทัย พระปรีชาสามารถของพ่อขุนรามคำแหง และสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวสุโขทัย 2. ด้านสังคม ให้ความรู้ในด้านกฎหมายและการปกครองในสมัยสุโขทัย 3. ด้านวัฒนธรรม ให้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมและประเพณีของชาวสุโขทัย 4. ด้านภาษา จารึกของพ่อขุนรามคำแหงเป็นหลักฐานสำคัญที่สุด ที่แสดงให้เห็นถึงกำเนิดของวรรณคดีและอักษรไทย ตัวอย่าง "พ่อกูชื่อศรีอินทราทิตย์ แม่กูชื่อนางเสือง พี่กูชื่อบานเมือง ตูพี่น้องท้องเดียวห้าคน ผู้ชายสาม ผู้ญิ่งโสง พี่เผือผู้อ้ายตายจากเผือเตียมแต่ยังเล็ก" "เมื่อชั่วพ่อกู กูบำเรอแก่พ่อกู กูบำเรอแก่แม่กู กูได้ตัวเนื้อตัวปลา กูเอามาแก่พ่อกู กูได้หมากส้มหมากหวาน อันใดกินอร่อยกินดี กูเอามาแก่พ่อกู กูไปตีหนังวังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู กูไปท่บ้านท่เมือง ได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง ได้เงือนได้ทอง กูเอามาเวนแก่พ่อกู พ่อกูตายยังพี่กู กูพร่ำบำเรอแก่พี่กู ดั่งบำเรอแก่พ่อกู พี่กูตาย จึงได้เมืองแก่กูทั้งกลม"

  1. ขนาด tv 75 นิ้ว
  2. Mitsubishi L200 ปั้มสายเครื่องซิ่งโมปั้ม 12 มิลหัวคาร์บอนขาวโบ F55 !! - YouTube
  3. [Genshin Impact] เกี่ยวกับเควสในเกม - Playpost
  4. Tinder จัดกิจกรรมเอาใจ Gen Z เติมความหวานซัมเมอร์นี้แบบฟินๆ - The Thai Press
  5. อักษรไทยสมัยสุโขทัย - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
  6. LINE MAN เปิด 3 กลยุทธ์ ย้ำผู้นำแอพฯฟู้ดเดลิเวอรี่เมืองไทย

ศิลาจารึก สุโขทัย

วินัย พงศ์ศรีเพียร, สุโขทัยคดี: ประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ, จัดพิมพ์เพื่อใช้ประกอบการบรรยายพิเศษและอบรมวิชาการเรื่อง "สุโขทัยคดี: ประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ" ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงกรกฎาคม 2563 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). 02. ประสมกับข้อมูลจาก., วันที่เข้าถึง 25 เมษายน 2563. 03. ที่มา:, วันที่เข้าถึง 8 พฤษภาคม 2563.

๑๙๐๔ พระยารามราชภักดี (ใหญ่ ศรลัมพ์) ผู้ว่าราชการจังหวัดสุโขทัย พบที่วัดป่ามะม่วง เมื่อปี พ. ๒๔๕๑ ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร ข้อความที่จารึกเป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสามีสังฆราช พระอุปัชฌาย์ของพระมหาธรรมราชาลิไทย มีข้อความสรรเสริญพระมหาธรรมราชา ที่ทรงผนวชด้วยพระราชศรัทธาอย่างแรงกล้า ในพระพุทธศาสนา

เศรษฐกิจของสุโขทัย - aphinun

๑๘๓๕ เรียกศิลาจารึกหลักนี้ว่า จารึกหลักที่ ๑ ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เมื่อปี พ. ๒๔๗๖ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ครั้งดำรงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้ามงกุฎ ขณะทรงผนวชได้เสด็จจาริกหัวเมืองฝ่ายเหนือ ถึงเมืองเก่าสุโขทัย ทรงพบศิลาจารึกหลักนี้พร้อมพระแท่นมนังคศิลาบาตร ณ โคกปราสาทร้าง จึงได้โปรดให้นำเข้ากรุงเทพ ฯ ในขั้นแรกเก็บรักษาไว้ที่วัดราชาธิวาส เพราะทรงประทับอยู่ ณ ที่วัดนั้น ต่อมาเมื่อทรงย้ายไปประทับที่วัดบวรนิเวศวิหาร จึงโปรดให้ย้ายไปไว้ที่วัดบวร ฯ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า ฯ ทรงอ่านศิลาจารึกหลักนี้ได้เป็นพระองค์แรก เมื่อปี พ. ๒๔๗๙ และหอสมุดวชิรญาณได้จัดพิมพ์เป็นครั้งแรก เมื่อปี พ. ๒๔๖๗ เมื่อไม่นานมานี้ได้มีผู้ที่ถูกเรียกกันว่าเป็นนักวิชาการบางคน และพรรคพวกที่มีความเห็นอย่างเดียวกัน บางพวกไม่เชื่อว่าเป็นศิลาจารึกที่พ่อขุนรามคำแหงสร้างขึ้นไว้เมื่อประมาณ เจ็ดร้อยปีก่อน จึงได้มีการพิสูจน์ทางด้านวิทยาศาสตร์ ตามที่สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงเสนอแนะไว้ในคราวประชุมใหญ่ ฯ เมื่อวันที่ ๔ มีนาคม พ.

ศ. 2515 ศาสตราจารย์ฉ่ำ ทองคำวรรณ และผู้เชี่ยวชาญ ทางภาษาโบราณ อีกหลายคน ได้ศึกษาการอ่านคำจารึก และการตีความถ้อยคำในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง ปี พ. 2521 ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร และศาสตราจารย์หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล ได้ศึกษาคำอ่านทำให้ได้รับความรู้เพิ่มเติมขึ้นจากการสันนิษฐาน ผู้แต่งอาจมีมากกว่า 1 คน เพราะเนื้อเรื่อง ในหลักศิลาจารึกแบ่งได้เป็น 3 ตอนด้วยกัน รายละเอียดของศิลาจารึก หลักที่ 1 วัตถุจารึก: หินทรายแป้งเนื้อละเอียด ลักษณะวัตถุ: หลักสี่เหลี่ยมด้านเท่า ทรงกระโจม ขนาดวัตถุ: กว้างด้านละ 35 ซม. สูง 111 ซม. ด้าน/บรรทัด: จำนวน 4 ด้าน มี 127 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 35 บรรทัด, ด้านที่ 2 มี 35 บรรทัด, ด้านที่ 3 มี 27 บรรทัด และด้านที่ 4 มี 27 บรรทัด สถานที่พบ: เนินปราสาทเมืองเก่าสุโขทัย ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ผู้พบ: พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ปัจจุบันอยู่ที่: พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร กรุงเทพมหานคร ประวัติ สันนิษฐานว่าศิลาจารึก หลักที่ 1 จารึกขึ้นประมาณ พ. 1835 เป็นปีที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงสั่งให้สร้างพระแท่นมนังศิลาบาตรและจารึกหลักอื่น ๆ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ขณะทรงดำรงพระอิสริยยศเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎฯ และผนวชอยู่วัดราชาธิวาสในรัชกาลที่ 3 ทรงนำศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช จากพระราชวังเก่ากรุงสุโขทัยมากรุงเทพฯ พร้อมกับพระแท่นมนังศิลาบาตร เมื่อ พ.

ศิลาจารึก - วิกิพีเดีย

ชื่อจารึก จารึกวัดมหาธาตุ สุโขทัย ชื่อจารึกแบบอื่นๆ หลักที่ 243 ศิลาจารึก วัดมหาธาตุ อักษรที่มีในจารึก ไทยธนบุรี-รัตนโกสินทร์ ศักราช พุทธศักราช 2450 ภาษา ไทย ด้าน/บรรทัด จำนวนด้าน 2 ด้าน มี 41 บรรทัด ด้านที่ 1 มี 21 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 20 บรรทัด วัตถุจารึก หินชนวน สีเขียว ลักษณะวัตถุ แผ่นหินรูปใบเสมา ขนาดวัตถุ กว้าง 36 ซม. สูง 95 ซม. หนา 7 ซม. บัญชี/ทะเบียนวัตถุ ในหนังสือ ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2 กำหนดเป็น "หลักที่ 243 ศิลาจารึก วัดมหาธาตุ" ปีที่พบจารึก ไม่ปรากฏหลักฐาน สถานที่พบ วัดมหาธาตุ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย ผู้พบ พระราชประสิทธิคุณ (ทิม) วัดราชธานี ปัจจุบันอยู่ที่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย พิมพ์เผยแพร่ ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2 (พระนคร: สำนักนายกรัฐมนตรี, 2521), 129 - 130. ประวัติ ศิลาจารึกนี้ถูกพบที่วัดมหาธาตุ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย พระราชประสิทธิคุณ (ทิม) วัดราชธานี มอบให้พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง นายเทิม มีเต็ม เป็นผู้อ่าน และนายประสาร บุญประคอง ตรวจแก้ โดยมีการตีพิมพ์ลงใน ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 6 ตอนที่ 2 ใน พ.

ด้านประวัติศาสตร์ ให้ความรู้เกี่ยวกับพระราชประวัติพ่อขุนรามคำแหง จารึกไว้ทำนองเฉลิมพระเกียรติ ตลอดจนความรู้ด้านประวัติศาสตร์ โบราณคดี และสภาพสังคมของกรุงสุโขทัย ทำให้ผู้อ่านรู้ถึงความเจริญรุ่งเรืองของกรุงสุโขทัย พระปรีชาสามารถของพ่อขุนรามคำแหง และสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของชาวสุโขทัย ๓. ด้านสังคม ให้ความรู้ด้านกฎหมายและการปกครองสมัยกรุงสุโขทัย ว่ามีการปกครองแบบพ่อปกครองลูก พระมหากษัตริย์ดูแลทุกข์สุขของราษฎรอย่างใกล้ชิด ๔. ด้านวัฒนธรรม ประเพณี ให้ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของชาวสุโขทัยที่ปฏิสืบมาจนถึงปัจจุบัน เช่น การเคารพบูชาและเลี้ยงดูบิดามารดา นอกจากนั้นยังได้กล่าวถึงประเพณีทางศาสนา เช่น การทอดกฐินเมื่อออกพรรษา ประเพณีการเล่นรื่นเริงมีการจุดเทียนเล่นไฟ พ่อขุนรามคำแหงโปรดให้ราษฎรทำบุญและฟังเทศน์ในวันพระ เช่น "คนเมืองสุโขทัยนี้มักทาน มักทรงศีล มักอวยทาน……. ฝูงท่วยมีศรัทธา ในพระพุทธศาสนา ทรงศีล เมื่อพรรษาทุกคน" ที่มา: หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ม. 4 เล่ม 2 กระทรวงศึกษาธิการ

(ตั้งแต่บรรทัดที่ 61 ถึง 75) เป็นเรื่องเจ้าศรีศรัทธาฯ ทรงทำยุทธหัตถี (ชนช้าง) กับขุนจัง ข. (ตั้งแต่บรรทัดที่ 76 ถึง 79) เป็นเรื่องประวัติเมื่อเจ้าสรีศรัทธาฯ ทรงเจริญวัยเป็นหนุ่ม ค.