โนต-สากล-เบองตน

Day 18 สังเกตอาการเป็นสัดโดยใช้แพะตัวผู้ทีเบี่ยงเบนลึงค์ช่วยในการตรวจ (ทั้งเวลาเช้า กลางวัน และเย็น) หลังถอดฮอร์โมน พร้อมกับบันทึกอาการและเวลาเป็นสัด โดยปกติแพะจะเป็นสัดประมาณ 24 ชั่วโมงหลังถอดฮอร์โมน Cidr-G 5. Day 19/20 ผสมเทียมครั้งที่ 1 หลังถอดฮอร์โมน Cidr-G ประมาณ 48 ±3 ชั่วโมง ( ชั่วโมงที่ 45-51) และผสมเทียมครั้งที่ 2 ที่เวลาประมาณ 72 ±3 ชั่วโมง ( ชั่วโมงที่ 69-75) หลังถอดฮอร์โมน Cidr-G

สายพันธุ์แกะ | โครงการเลี้ยงแพะและแกะ

เลี้ยงแพะยั่งยืน สมาชิก: 20 • กระทู้: 73 • หัวข้อ: 32 รอบรู้แพะแกะ ซื้อ-ขายไก่ 0 กระทู้ 0 หัวข้อ เลี้ยงแพะยั่งยืน - Info Center กระทู้เมื่อเร็วๆ นี้ ผู้ใช้งานขณะนี้ หัวข้อ โดย บอร์ด วันที่ เมษายน 04, 2021, 10:45:41 AM เมษายน 04, 2021, 10:40:00 AM เมษายน 04, 2021, 08:53:01 AM เมษายน 02, 2021, 09:28:19 AM เมษายน 02, 2021, 09:26:08 AM เมษายน 02, 2021, 09:14:33 AM เมษายน 02, 2021, 09:11:59 AM มีนาคม 28, 2021, 09:14:52 AM 2 บุคคลทั่วไป, 0 สมาชิก วันนี้ออนไลน์มากที่สุด: 13. ออนไลน์มากที่สุด: 13 (กรกฎาคม 17, 2019, 08:42:04 PM)

แพะเป็นสัตว์ที่กินอาหารง่ายและกินอาหารได้หลายอย่างแต่แพะก็ยังตายด้วยโรคซึ่ง เกิดจากอาหาร เช่น โรคท้องอืด โรคลำไส้อักเสบเป็นพิษ ( Enterotoxaemia) เป็นต้น ดังนั้น ผู้เลี้ยงจึงยังต้องเอาใจใส่เรื่องอาหารเป็นอย่างดี แพะเป็นสัตว์เคียวเอื้อง เช่น โค กระบือ แต่แพะกินอาหารได้เก่งกว่า แกะและโค นั่นคือสามารถกินอาหารแห้งได้ถึง 6. 5-11% ของน้ำหนักตัวในขณะที่โคและแกะกินอาหาร แห้งได้เพียง 2. 5-3% ของน้ำหนักตัว ดังนั้นแพะน้ำหนักตัว 30 กิโลกรัม จึงสามารถกินอาหารแห้งได้ วันละ 1. 95-3. 3 กิโลกรัม และกินอาหารสดได้ถึง 5. 9-10 กิโลกรัม แพะเป็นสัตว์ที่เดินทางหาอาหารกินได้ไกล กินใบไม้พุ่มไม้และหญ้าดีมากกว่าสัตว์อื่น หากจะมีการเสริมอาหารข้นแก่โคนมและแพะจำนวน 60 กิโลกรัม เท่ากันแล้ว แพะจะผลิต น้ำนมได้มากกว่าโคนมถึง 2 ลิตร แต่โดยปกติจะไม่ให้แพะกินอาหารข้นเกิน 50% ของ ปริมาณอาหารที่กินทั้งหมด ประเภทอาหาร 1. อาหารหยาบ ประกอบด้วยพืชหญ้าต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1. 1 พืชตระกูลหญ้า เป็นพวกที่มีลำต้นและใบอ่อนนิ่ม ต้นไม่โตนัก เช่น หญ้าขน เนเปียร์ รูซี่ แพงโกลา เฮมิล ฯลฯ 1. 2 พืชตระกูลถั่ว ทั้งถั่วกอตั้งและถั่วต้นเลื้อย และไม้ยืนต้นกระกูลถั่ว เช่น ถั่วลาย ถั่วฮามาต้า กระถิน และแคไทย อาจจะปลูกพืชตระกูลถั่วปนหญ้าชนิดอื่น หรือปลูกแต่ถั่วแล้วตัดมัดเป็นฟ่อนๆ ให้แพะกินก็ได้ 1.

สัตว์ลูกผสมแพะ+แกะ มีจริง.. จะถูกเรียกว่า Geep หรือ Shoat – 108kaset

คำเตือน: การซื้อขายควรเลือกติดต่อกับสมาชิกที่มีสัญลักษณ์ เพราะเป็นสมาชิกของสมาชิกสมาคมผู้เลี้ยงแพะ-แกะไทย มีที่อยู่ยืนตัวตนอย่างชัดเจน หากเกิดปัญหาซื้อขาย กับคนที่ไม่ได้เป็นสมาชิกของสมาคมผู้เลี้ยงแพะ-แกะไทย ทางสมาคมจะไม่รับผิดชอบใด ๆ ทั้งสิ้น

35กิโลกรัม น้ำหนักกระดูก12. 47กิโลกรัม และน้ำหนักเนื้อสุทธิ9. 80กิโลกรัม ซึ่งคิดเป็น32. 17% สูงกว่าแพะพื้นเมืองส่านซีทางตอนเหนือ47. 92% ตามลำดับ53. 60% แพะแองโกร่าถูกผสมข้ามกับแพะจงเหว่ย ภายใต้สภาพนิเวศกึ่งทะเลทรายในมณฑลกานซู ใช้การกินหญ้าเป็นหลักแพะแองโกร่าอายุ 22เดือน มีน้ำหนักการฆ่าเฉลี่ย 29. 2กิโลกรัม น้ำหนักหระดูก12. 0กิโลกรัม และอัตราการฆ่าจาก41. 1% การผสมข้ามสายพันธุ์รุ่นแรกระหว่างแพะแองโกร่า และแพะพื้นเมืองชานเป่ยมีขนที่ไม่ได้หลุดออกมา88. 40% ขนยาว7. 79ซม. และความละเอียด 16. 37ไมครอน และการสร้างลูกผสม การเพิ่มขึ้นของระดับของแพะผู้พิทักษ์ที่ไม่มีเส้นเลือดฝอย 3. 72ถึง5. 31ไมครอน ความยาวความแข็งแรงของขนที่ไม่ได้รับการตัดแต่ง และการยืดตัวก็เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ นานกว่าแพะผู้พิทักษ์ 2. 06-4. 15 ซม. ความขาวความมันเงาที่ดี จังหวัดและภูมิภาคส่วนใหญ่ที่เปิดตัวแพะแองโกร่าในประเทศจีน มีเป้าหมายที่จะผสมพันธุ์แพะขนสัตว์ สายพันธุ์ใหม่ในภูมิภาคนี้ บนพื้นฐานของการปรับปรุงข้ามสายพันธุ์ เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพของแพะในท้องถิ่น มณฑลส่านซีจัดทำ โครงการคัดเลือกและผสมพันธุ์แพะส่านซีโมแฮร์เหนือ และดำเนินการผสมข้ามพันธุ์ขนาดใหญ่ โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ และคณะกรรมการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจังหวัด โครงการปรับปรุงพันธุ์ที่นำมาใช้ เป็นการผสมข้ามพันธุ์แบบก้าวหน้าภายในปี พ.

สายพันธุ์แพะ | โครงการเลี้ยงแพะและแกะ

งานผสมเทียมแพะ ของศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่งใช้เทคโนโลยีชีวภาพและเผยแพร่องค์ความรู้โดยเฉพาะงานด้านการผสมเทียมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการปรับปรุงพันธุ์และกระจายแพะพันธุ์ดีสู่เกษตรกรผู้เลี้ยงแพะเนื้อและแพะนมทางภาคใต้ตอนบนทั้ง 7 จังหวัดซึ่งประกอบด้วย จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี ระนอง นครศรีธรรมราช กระบี่ พังงาและภูเก็ต ปัจจุบัน ศูนย์ฯ มีการผสมเทียมแพะ 2 วิธี คือ 1. การเหนี่ยวนำการเป็นสัด (Estrus synchronization) ผสมเทียมโดยกำหนดเวลา 2. แพะเป็นสัดโดยธรรมชาติ (Natural Estrous) ผสมเทียมตามเวลาที่เหมาะสม การผสมเทียมแพะ หมายถึง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่นำน้ำเชื้อแพะเพศผู้ ฉีดเข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์ของแพะเพศเมีย ในช่วงเวลาที่แพะเพศเมียแสดงอาการเป็นสัดยืนนิ่ง (standing heat) ยอมรับการผสม เพื่อให้เกิดการตั้งท้อง ข้อดีของการผสมเทียมแพะ 1. ลดค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงพ่อพันธุ์แพะ 2. ช่วยให้พ่อแพะพันธุ์ดีได้ถ่ายทอดพันธุกรรมไปได้อย่างกว้างขวาง 3. ลดอัตราเสี่ยงจากการแพร่ของโรคอันเนื่องจากการผสมพันธุ์ เช่น โรคแท้งติดต่อ (Blucellosis), โรคข้อและสมองอักเสบ (CAE) เป็นต้น 4.

โน๊ ต บุ๊ค

1 อุ่นนมที่ละลายน้ำแล้ว ให้มีอุณหภูมิ 40 องศาเซนเซียส ก่อนให้ลูกแพะกินทุกครั้ง 3. 2 ล้างขวด หัวนม และจานใส่นมให้สะอาด หลังจากลูกแพะกินนมแล้วทุกครั้งไป 3. 3 ให้ลูกแพะกินนมเทียม ประมาณวันละ 0. 7-0. 9 ลิตร โดยแบ่งให้เป็น 3-5 ครั้ง ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งอายุ 2 สัปดาห์ 3. 4 เริ่มให้อาหารลูกอ่อน (Calf Starter) เมื่อลูกแพะอายุได้ 3-4 สัปดาห์ แล้วค่อยๆ เพิ่มปริมาณอาหารข้น ตามที่ลูกแพะกินแล้วท้องไม่เสีย 3. 5 ควรให้ลูกแพะหย่านมเมื่ออายุ 3 เดือน (Weaning age) หรือหย่านมเมื่อลูกแพะสามารถกินหญ้าแห้งและอาหารข้นได้มากแล้ว 4. การให้อาหารแพะรุ่น แพะรุ่นควรให้อาหารในปริมาณที่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตสร้างความเจริญเติบโต แต่ต้องไม่มากจนอ้วนถ้ามีอาหารหยาบคุณภาพดีมีพื้นที่มากพอให้แพะรุ่นได้ออกกำลังกาย จะช่วยเสริมสร้างให้แพะรุ่นโตเร็วขึ้นและควรให้อาหารข้นร่วมด้วยประมาณ 0. 12-0. 7 กก. ( โปรตีน 20%) มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณภาพของหญ้าที่กิน 5. การให้อาหารแพะพ่อพันธุ์ แพะพ่อพันธุ์ที่ไม่ได้ใช้ผสมให้กินหญ้าในแปลงอย่างเดียวก็พอแล้วถ้าไม่มีแปลงหญ้า คุณภาพดี อาจใช้หญ้าแห้งคุณภาพดีเลี้ยงแทนแต่ควรให้อาหารข้น เสริมด้วย ประมาณ วันละ 0.

50 39. 00 ดีดีจีเอส27% 5. 00 12. 00 คาโนลา37% กากปาล์ม18% 26. 00 กากน้ำตาล12% 20. 00 ไดแคลเซียม 16% 1. 00 เกลือ 0. 60 ยูเรีย ฟลาโวมัยซิน 100 พรีมิกซ์ 0. 50 รวม 100. 00 รายการโภชนะที่ได้ โปรตีน% 14. 07 14. 12 พลังงาน 68. 34 70. 63 แคลเซียม% 2. 03 1. 72 ฟอสฟอรัส% 0. 94 0. 76 ไลซีน% 0. 32 0. 28 เมทไทโอนีน+ซีสตีน% 0. 29 0. 30 ทริปโตเฟน% 0. 07 ทรีโอนีน% ไขมัน% 1. 38 2. 02 เยื่อใย% 6. 18 6. 07

6-0. 7 กก. /วัน(โปรตีน 16-18%) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพทั่วไปของแม่แพะ ให้หญ้าสดและหญ้าแห้งคุณภาพดีถ้าเป็นแม่แพะที่รีดนมอยู่ควรหยุดรีดนมก่อนครบกำหนด คลอด 6 สัปดาห์ เมื่อใกล้คลอด 4-5 วัน จะต้องลดอาหารเมล็ดธัญพืช โดยเพิ่มรำข้าวแทน เพื่อช่วยระบายท้อง 2. การให้อาหารแพะที่กำลังให้นม แม่แพะที่กำลังให้นมควรให้อาหารที่มีโปรตีน 16-18% วันละประมาณ 0. 3-0. 5 กก. /ปริมาณ น้ำนม ที่ได้ 1 กิโลกรัม แต่ถ้าหากมีแปลงหญ้าแล้วสามารถลดอาหารลงได้ครึ่งหนึ่ง ขั้นตอนการให้อาหารแพะนมควรปฏิบัติดังนี้ 2. 1 ลดอาหารข้นลงให้เหลือวันละ 0. 2 กิโลกรัม/วัน ก่อนคลอดหนึ่งสัปดาห์ 2. 2 ให้อาหารข้นวันละ 0. 2-0. 4 กิโลกรัม/วัน เป็นเวลา 2 สัปดาห์ หลังจากคลอดลูก 2. 3 หลังจากคลอดลูกแล้ว 2 สัปดาห์ ให้ค่อยๆ เพิ่มอาหารข้นมากขึ้นตามปริมาณน้ำนม ที่รีดได้ คือประมาณ 0. 5 กิโลกรัม/น้ำนม 1 กิโลกรัม 2. 4 เมื่อให้อาหารแม่แพะแล้ว ต้องคอยสังเกตว่าแม่แพะกินอาหารที่ให้นั้นหมดหรือ ไม่ถ้าไม่หมดให้ลดอาหารลงจนกระทั่งแม่แพะกินหมด การให้อาหารแม่แพะรีดนมแยกให้ทีละตัว และให้ในขณะรีดนม 3. การให้อาหารลูกแพะ ลูกแพะตั้งแต่แรกเกิดจนถึงหย่านมสามารถเลี้ยงโดยให้ดูดนมแม่โดยตรงรีดให้กิน หรือ เลี้ยงด้วยนมเทียม แต่จะโดยวิธีใดก็ตามลูกแพะต้องได้รับนมน้ำเหลืองจากแม่นานประมาณ 3-4 วันในกรณีที่นมแพะขายได้ราคาดีผู้เลี้ยงก็ควรจะให้ลูกแพะกินนมเทียมแทนการเลี้ยงแพะโดยนมเทียมอาจใช้วิธีให้ดูดจากขวดหรือใส่ภาชนะให้เลียกิน การฝึกหัดควรทำตั้งแต่แรกเกิดใหม่ๆ ก่อนที่ลูกแพะจะดูดนมจากเต้าแม่เป็นนั่นคือแยกลูกจากแม่ทันทีที่คลอดแล้วรีดนมน้ำเหลืองจากแม่ใส่ขวดแล้วป้อนลูกแพะ ทำเช่นนี้ 3-4 วัน จึงเริ่มเปลี่ยนจากนมแม่เป็นนมเทียมต่อไป การเลี้ยงลูกแพะด้วยนมเทียม ให้ปฏิบัติดังนี้ 3.

ศ.
  • แพะ ผสม แกะ external harddisk
  • วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมือสำหรับแพะแกะ – ห้างหุ้นส่วนจำกัด พรชัยอินเตอร์เทรด
  • เลี้ยงแพะยั่งยืน - Index
  • ☺ อาหารและการให้อาหารแพะ - OPOR PRIMADONNA
  • Dior maximizer รีวิว serum
  • แพะ ผสม แกะ โพธิ์ดํา
  • แพะต่างกับแกะตรงไหน? – 108kaset
  • การผสมเทียมแพะ
  • หนุ่ม หล่อ ลาว รี
  1. ลด ldl pantip